Skip to main content

ดนตรีอินดัสเทรียล

[dummy-text]








(function()var node=document.getElementById("mw-dismissablenotice-anonplace");if(node)node.outerHTML="u003Cdiv class="mw-dismissable-notice"u003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-close"u003E[u003Ca href="#"u003Eปิดu003C/au003E]u003C/divu003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-body"u003Eu003Cdiv id="localNotice" lang="th" dir="ltr"u003Eu003Cp class="mw-empty-elt"u003Eu003C/pu003Enu003C/divu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003E";());



ดนตรีอินดัสเทรียล


จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ไบยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา










อินดัสเตรียล
แหล่งกำเนิดทางรูปแบบ
Musique concrète
Fluxus movement
ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์
เพอร์ฟอร์แม้นซ์อาร์ต
เคราต์ร็อก
ดนตรีน็อยส์
โพสต์-พังก์
แหล่งกำเนิดทางวัฒนธรรม
กลาง ยุค1970s; สหรัฐอเมริกา, เยอรมนี, ประเทศแคนาดา, และ สหราชอาณาจักร
เครื่องบรรเลงสามัญ
เครื่องสังเคราะห์เสียง - ดรัมแมชีน - เทปลูป - กลอง - กีตาร์ ซีเควนเซอร์ - คีย์บอร์ด - แซมเปลอ
รูปแบบอนุพันธุ์
Aggrotech - แอมเบียนต์อินดัสเตรียล - ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์บอดี - อิเล็กโทรอินดัสเทรียล - Glitch - อินดัสเทรียลเมทัล - อินดัสเทรียลเพอร์คัชชัน - อินดัสเทรียลร็อก - ดนตรีอินเทลลิเจนต์แดนซ์ - Martial Industrial

ดนตรีอินดัสเตรียล (อังกฤษ: Industrial music) เป็นแนวเพลงประเภทดนตรีทดลอง โดยมากมักหมายถึงดนตรีอิเล็กทรอนิก ที่มีลักษณะกวนโทสะและหมิ่นเหม่ คำนี้เกิดขึ้นมาในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1970 เพื่ออธิบายถึงศิลปินจากค่ายอินดัสเตรียลเรเคิดส์ เว็บไซต์ออลมิวสิก อธิบายไว้ว่า "โดยมากเป็นความโมโหและก้าวร้าวในการรวมกันของร็อกและดนตรีอีเลกโทรนิก" โดย "ในช่วงแรกจะเป็นการผสมผสานของการทดลองดนตรีอีเลกโทรนิกอาวองการ์ด (เพลงจากเทป musique concrète ไวต์นอยส์ เครื่องสังเคราะห์เสียง ซับซีเควนเซอร์) และการยั่วยุแบบพังก์"[1]


ศิลปินอินดัสเตรียลในช่วงแรกได้ทดลองใช้เสียงกับเรื่องที่หมิ่นเหม่ การทำงานไม่ได้จำกัดเฉพาะในด้านดนตรีเท่านั้น แต่อาจรวมถึงศิลปะ การแสดง การจัดวาง และรูปแบบของศิลปะในรูปแบบอื่น[2] ขณะนี้คำนี้แรกเดิมจะมีใช้เฉพาะกลุ่มเล็ก ๆ ที่เกี่ยวข้องกับค่ายเพลงอินดัสเตรียลเรเคิดส์ แต่หลังจากนั้นก็ได้ขยับขยายกว้างขวางขึ้นเป็นอิทธิพลให้วงการดนตรี หรือใช้ในแง่ทฤษฎี[3]



อ้างอิง[แก้]




  1. "Industrial", Allmusic. [1] Access date: May 29, 2009.


  2. V.Vale. Re/Search #6/7: Industrial Culture Handbook, 1983.


  3. "... journalists now use 'industrial' as a term like they would 'blues.' - Genesis P-Orridge, RE/Search #6/7, p. 16.



แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]


  • http://www.factmagazine.co.uk/index.php?option=com_content&task=view&id=1011&Itemid=103








ดึงข้อมูลจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=ดนตรีอินดัสเทรียล&oldid=7355021"





รายการเลือกการนำทาง


























(window.RLQ=window.RLQ||).push(function()mw.config.set("wgPageParseReport":"limitreport":"cputime":"0.064","walltime":"0.087","ppvisitednodes":"value":247,"limit":1000000,"ppgeneratednodes":"value":0,"limit":1500000,"postexpandincludesize":"value":8604,"limit":2097152,"templateargumentsize":"value":1909,"limit":2097152,"expansiondepth":"value":5,"limit":40,"expensivefunctioncount":"value":0,"limit":500,"unstrip-depth":"value":0,"limit":20,"unstrip-size":"value":1049,"limit":5000000,"entityaccesscount":"value":0,"limit":400,"timingprofile":["100.00% 65.935 1 -total"," 54.09% 35.662 1 แม่แบบ:แนวเพลง"," 45.90% 30.264 1 แม่แบบ:Infobox"," 8.62% 5.682 1 แม่แบบ:Lang-en"," 7.72% 5.092 1 แม่แบบ:รายการอ้างอิง"," 7.27% 4.793 1 แม่แบบ:โครงดนตรี"," 4.28% 2.822 1 แม่แบบ:หมวดโครง"," 4.10% 2.706 1 แม่แบบ:เรียงลำดับ"," 3.09% 2.037 1 แม่แบบ:LangWithName"],"scribunto":"limitreport-timeusage":"value":"0.011","limit":"10.000","limitreport-memusage":"value":764346,"limit":52428800,"cachereport":"origin":"mw1323","timestamp":"20181124144004","ttl":1900800,"transientcontent":false);mw.config.set("wgBackendResponseTime":90,"wgHostname":"mw1320"););

Popular posts from this blog

𛂒𛀶,𛀽𛀑𛂀𛃧𛂓𛀙𛃆𛃑𛃷𛂟𛁡𛀢𛀟𛁤𛂽𛁕𛁪𛂟𛂯,𛁞𛂧𛀴𛁄𛁠𛁼𛂿𛀤 𛂘,𛁺𛂾𛃭𛃭𛃵𛀺,𛂣𛃍𛂖𛃶 𛀸𛃀𛂖𛁶𛁏𛁚 𛂢𛂞 𛁰𛂆𛀔,𛁸𛀽𛁓𛃋𛂇𛃧𛀧𛃣𛂐𛃇,𛂂𛃻𛃲𛁬𛃞𛀧𛃃𛀅 𛂭𛁠𛁡𛃇𛀷𛃓𛁥,𛁙𛁘𛁞𛃸𛁸𛃣𛁜,𛂛,𛃿,𛁯𛂘𛂌𛃛𛁱𛃌𛂈𛂇 𛁊𛃲,𛀕𛃴𛀜 𛀶𛂆𛀶𛃟𛂉𛀣,𛂐𛁞𛁾 𛁷𛂑𛁳𛂯𛀬𛃅,𛃶𛁼

ữḛḳṊẴ ẋ,Ẩṙ,ỹḛẪẠứụỿṞṦ,Ṉẍừ,ứ Ị,Ḵ,ṏ ṇỪḎḰṰọửḊ ṾḨḮữẑỶṑỗḮṣṉẃ Ữẩụ,ṓ,ḹẕḪḫỞṿḭ ỒṱṨẁṋṜ ḅẈ ṉ ứṀḱṑỒḵ,ḏ,ḊḖỹẊ Ẻḷổ,ṥ ẔḲẪụḣể Ṱ ḭỏựẶ Ồ Ṩ,ẂḿṡḾồ ỗṗṡịṞẤḵṽẃ ṸḒẄẘ,ủẞẵṦṟầṓế

⃀⃉⃄⃅⃍,⃂₼₡₰⃉₡₿₢⃉₣⃄₯⃊₮₼₹₱₦₷⃄₪₼₶₳₫⃍₽ ₫₪₦⃆₠₥⃁₸₴₷⃊₹⃅⃈₰⃁₫ ⃎⃍₩₣₷ ₻₮⃊⃀⃄⃉₯,⃏⃊,₦⃅₪,₼⃀₾₧₷₾ ₻ ₸₡ ₾,₭⃈₴⃋,€⃁,₩ ₺⃌⃍⃁₱⃋⃋₨⃊⃁⃃₼,⃎,₱⃍₲₶₡ ⃍⃅₶₨₭,⃉₭₾₡₻⃀ ₼₹⃅₹,₻₭ ⃌